ترجمة سورة البروج

الترجمة التايلاندية

ترجمة معاني سورة البروج باللغة التايلاندية من كتاب الترجمة التايلاندية.
من تأليف: مجموعة من جمعية خريجي الجامعات والمعاهد بتايلاند .

[85.1] ขอสาบานด้วยชั้นฟ้าที่เกลื่อนกลาดด้วยดวงดาว
[85.2] และด้วยวันที่ถูกสัญญาไว้
[85.3] และด้วยผู้เป็นพยานและผู้ที่ถูกเป็นพยาน
[85.4] บรรดาเจ้าของหลุมพรางถูกสาปแช่ง
[85.5] ไฟที่เต็มไปด้วยเชื้อเพลิง
[85.6] ขณะที่พวกเขานั่งอยู่ตรงหน้าไฟ
[85.7] และพวกเขารู้เห็นเป็นพยานต่อสิ่งที่บรรดาลูกน้องกระทำกับบรรดาผู้ศรัทธา
[85.8] และพวกเขามิได้แก้แค้นเขาเหล่านั้น เว้นแต่ว่าเขาเหล่านั้นศรัทธาต่ออัลลอฮฺผู้ทรงอำนาจผู้ทรงได้รับการสรรเสริญ
[85.9] ผู้ซึ่งกรรมสิทธิ์แห่งชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินเป็นของพระองค์ และอัลลอฮฺนั้นทรงเป็นพยานต่อทุกสิ่งอย่าง
[85.10] แท้จริงพวกที่ประหัตประหารบรรดาผู้ศรัทธาชายและบรรดาผู้ศรัทธาหญิง แล้วพวกเขามิได้สำนึกผิดกลับตัวนั้น พวกเขาจะได้รับการลงโทษแห่งนรกญะฮันนัม และพวกเขาจะได้รับการลงโทษแห่งการเผาไหม้
[85.11] แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธาและประกอบความดีทั้งหลาย พวกเขาจะได้รับสวนสวรรค์หลากหลาย ณ เบื้องล่างของมันมีลำน้ำหลายสายไหลผ่าน นั่นคือชัยชนะอันใหญ่หลวง
[85.12] แท้จริงการลงโทษอย่างรุนแรงแห่งพระเจ้านั้นแข็งกร้าวยิ่งนัก
[85.13] แท้จริงพระองค์คือผู้ทรงให้บังเกิดครั้งแรก และทรงให้กลับฟื้นคืนชีพขึ้นอีก
[85.14] และพระองค์คือผู้ทรงอภัยโทษผู้ทรงรักใคร่ปรานี
[85.15] เจ้าของบัลลังก์อันรุ่งโรจน์
[85.16] ผู้ทรงกระทำอย่างเด็ดขาดตามที่พระองค์ทรงประสงค์
[85.17] ได้มีเรื่องราวของไพร่พลมายังเจ้าแล้วมิใช่หรือ
[85.18] ของฟิรเอานฺและซะมูด
[85.19] ยิ่งไปกว่านั้นบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธายังไม่ยอมเชื่อ (ความจริง)
[85.20] และอัลลอฮฺทรงห้อมล้อมพวกเขาทุกด้าน
[85.21] มิใช่เช่นนั้นดอก ที่พวกเขาไม่ยอมเชื่อถือคือกุรอานอันรุ่งโรจน์
[85.22] อยู่ในแผ่นจารึกที่ถูกเก็บรักษาไว้
سورة البروج
معلومات السورة
الكتب
الفتاوى
الأقوال
التفسيرات

سورة (البُرُوج) من السُّوَر المكية، وقد افتُتحت ببيان قدرة الله عز وجل وعظمتِه، ثم جاءت على ذكرِ قصة (أصحاب الأخدود)، وهم قومٌ فتَنوا فريقًا ممن آمن بالله، فجعلوا أُخدودًا من نار لتعذيبهم؛ وذلك تثبيتًا لقلوب الصحابة على أمرِ هذه الدعوة، وأن اللهَ - بعظمتِه وسلطانه - الذي أقام السماءَ والأرض صاحبَ البطش الشديد معهم وناصرُهم، وكان صلى الله عليه وسلم يقرأ هذه السورةَ في الظُّهر والعصر.

ترتيبها المصحفي
85
نوعها
مكية
ألفاظها
109
ترتيب نزولها
27
العد المدني الأول
22
العد المدني الأخير
22
العد البصري
22
العد الكوفي
22
العد الشامي
22

* سورة (البُرُوج):

سُمِّيت سورة (البُرُوج) بهذا الاسم؛ لافتتاحها بقوله تعالى: {وَاْلسَّمَآءِ ذَاتِ اْلْبُرُوجِ} [البروج: 1]؛ وهي: الكواكبُ السيَّارة.

* كان صلى الله عليه وسلم يقرأ في الظُّهر والعصر بسورة (البُرُوج):

عن جابرِ بن سَمُرةَ رضي الله عنه: «أنَّ رسولَ اللهِ صلى الله عليه وسلم كان يَقرأُ في الظُّهْرِ والعصرِ بـ{وَاْلسَّمَآءِ وَاْلطَّارِقِ}، {وَاْلسَّمَآءِ ذَاتِ اْلْبُرُوجِ}، ونحوِهما مِن السُّوَرِ». أخرجه أبو داود (٨٠٥).

1. قصة (أصحاب الأخدود) (١-٩).

2. التمييز بين الطائعين والعاصين (١٠-١١).

3. مشيئة الله تعالى، ونَفاذُ قُدْرته (١٢-٢٢).

ينظر: "التفسير الموضوعي لسور القرآن الكريم" لمجموعة من العلماء (9 /90).

يقول ابن عاشور: «... ضرب المثَلِ للذين فتنوا المسلمين بمكة بأنهم مثلُ قوم فتَنوا فريقًا ممن آمن بالله، فجعلوا أخدودًا من نار لتعذيبِهم؛ ليكون المثلُ تثبيتًا للمسلمين، وتصبيرًا لهم على أذى المشركين، وتذكيرًا لهم بما جرى على سلَفِهم في الإيمان من شدة التعذيب الذي لم يَنَلْهم مثلُه، ولم يصُدَّهم ذلك عن دِينهم.

وإشعار المسلمين بأن قوةَ الله عظيمةٌ؛ فسيَلقَى المشركون جزاءَ صنيعهم، ويَلقَى المسلمون النعيمَ الأبدي والنصر.
والتعريض للمسلمين بكرامتهم عند الله تعالى.
وضرب المثلِ بقوم فرعون، وبثمود، وكيف كانت عاقبة أمرهم لمَّا كذبوا الرسل؛ فحصلت العِبرة للمشركين في فَتْنِهم المسلمين، وفي تكذيبهم الرسولَ صلى الله عليه وسلم، والتنويه بشأن القرآن». "التحرير والتنوير" لابن عاشور (30 /236).