ترجمة سورة الشمس

الترجمة التايلاندية

ترجمة معاني سورة الشمس باللغة التايلاندية من كتاب الترجمة التايلاندية.
من تأليف: مجموعة من جمعية خريجي الجامعات والمعاهد بتايلاند .

[91.1] ขอสาบานด้วยดวงอาทิตย์ และแสงสว่างของมัน
[91.2] และด้วยดวงจันทร์ เมื่อโคจรตามหลังมัน
[91.3] และด้วยเวลากลางวันเมื่อประกายแสงมัน (จากดวงอาทิตย์)
[91.4] และด้วยเวลากลางคืนเมื่อปกคลุมมัน
[91.5] และด้วยชั้นฟ้า และที่พระองค์ทรงสร้างมัน
[91.6] และด้วยแผ่นดิน และที่พระองค์ทรงแผ่มัน
[91.7] และด้วยชีวิต และที่พระองค์ทรงทำให้มันสมบูรณ์
[91.8] แล้วพระองค์ทรงดลใจมันให้รู้ทางชั่วของมันและทางสำรวมของมัน
[91.9] แน่นอน ผู้ขัดเกลาชีวิตย่อมได้รับความสำเร็จ
[91.10] และแน่นอน ผู้หมกมุ่นมัน (ด้วยการทำชั่ว) ย่อมล้มเหลว
[91.11] พวกซะมูดได้ปฏิเสธด้วยการละเมิดขอบเขตของพวกเขา
[91.12] เมื่อคนเลวทรามที่สุดของพวกเขาได้รีบรุดไป (ฆ่าอูฐตัวเมีย)
[91.13] แล้วรอซูลของอัลลอฮฺจึงกล่าวแก่พวกเขาว่า (อย่าทำร้าย) อูฐของอัลลอฮฺ และ (อย่าขัดขวาง) การดื่มน้ำของมัน
[91.14] แต่พวกเขาก็ไม่เชื่อนบีแล้วพวกเขาก็ได้ฆ่ามัน ดังนั้นพระเจ้าของพวกเขาจึงได้ทำลายล้างพวกเขาเนื่องจากเพราะความผิดของพวกเขา แล้วพระองค์ทรงลงโทษพวกเขาอย่างถ้วนหน้ากัน
[91.15] และพระองค์มิทรงหวาดหวั่นต่อปั้นปลายพวกมัน
سورة الشمس
معلومات السورة
الكتب
الفتاوى
الأقوال
التفسيرات

سورة (الشَّمْسِ) من السُّوَر المكية، وقد افتُتحت بقَسَمِ الله عز وجل بـ(الشَّمْس)، وبيَّنتْ قدرةَ الله عز وجل، وتصرُّفَه في هذا الكون، وما جبَلَ عليه النفوسَ من الخير والشرِّ، وطلبت السورة الكريمة البحثَ عن تزكيةِ هذه النفس؛ للوصول للمراتب العليا في الدارَينِ، وخُتِمت بضربِ المثَلِ لعذاب الله لثمودَ؛ ليعتبِرَ المشركون، ويستجيبوا لأمر الله ويُوحِّدوه.

ترتيبها المصحفي
91
نوعها
مكية
ألفاظها
54
ترتيب نزولها
26
العد المدني الأول
16
العد المدني الأخير
16
العد البصري
15
العد الكوفي
15
العد الشامي
15

* سورة (الشَّمْسِ):

سُمِّيت سورة (الشَّمْسِ) بهذا الاسم؛ لافتتاحها بقَسَمِ الله عز وجل بـ(الشمس).

1. القَسَم العظيم وجوابه (١-١٠).

2. مثال مضروب (١١-١٥).

ينظر: "التفسير الموضوعي لسور القرآن الكريم" لمجموعة من العلماء (9 /149).

يقول ابنُ عاشور رحمه الله عن مقاصدها: «تهديدُ المشركين بأنهم يوشك أن يصيبَهم عذابٌ بإشراكهم، وتكذيبِهم برسالة محمد صلى الله عليه وسلم؛ كما أصاب ثمودًا بإشراكهم وعُتُوِّهم على رسول الله صلى الله عليه وسلم الذي دعاهم إلى التوحيد.
وقُدِّم لذلك تأكيدُ الخبر بالقَسَم بأشياءَ معظَّمة، وذُكِر من أحوالها ما هو دليلٌ على بديعِ صُنْعِ الله تعالى الذي لا يشاركه فيه غيرُه؛ فهو دليلٌ على أنه المنفرِد بالإلهية، والذي لا يستحِقُّ غيرُه الإلهيةَ، وخاصةً أحوالَ النفوس ومراتبها في مسالك الهدى والضَّلال، والسعادة والشقاء». "التحرير والتنوير" لابن عاشور (30 /365).