ترجمة سورة التكوير

King Fahad Quran Complex - Thai translation

ترجمة معاني سورة التكوير باللغة التايلاندية من كتاب King Fahad Quran Complex - Thai translation.

สูเราะฮฺ อัต-ตักวีร


เมื่อดวงอาทิตย์ถูกม้วนดับแสงลง

และเมื่อบรรดาดวงดาวร่วงหล่นลงมากระจัดกระจาย

และเมื่อบรรดาภูเขาถูกเคลื่อนย้าย

และเมื่ออูฐท้องสิบเดือนถูกทอดทิ้ง

และเมื่อสัตว์ถูกนำมารวมกัน

และเมื่อทะเลลุกเป็นไฟ

และเมื่อชีวิตทั้งหลายถูกจัดเป็นคู่

และเมื่อทารกหญิงที่ถูกฝังทั้งเป็นถูกถาม

ด้วยความผิดอันใดเขาจงถูกฆ่า

และเมื่อบันทึกทั้งหลายถูกกางแผ่

และเมื่อชั้นฟ้าถูกเลิกออก

และเมื่อนรกถูกจุดให้ลุกสว่างจ้า

และเมื่อสวรรค์ถูกนำมาใกล้

ทุกชีวิตย่อมรู้สิ่งที่ตนได้นำมา

ข้าสาบานต่อดวงดาวที่ซ่อนตัวในเวลากลางวัน

ที่โคจรลับดวง

ข้าสาบานด้วยกลางคืนเมื่อมันเหือดหายไป

และด้วยเวลาเช้าตรู่เมื่อมันทอแสง

แท้จริง อัลกุรอานคือคำพูดของร่อซูล (ญิบริล) ผู้ทรงเกียรติ

ผู้ทรงพลัง ผู้ทรงตำแหน่งสูง ณ พระเจ้าแห่งบัลลังก์

ผู้ใดรับการจงรักภักดี ผู้ซื่อสัตย์ ณ ที่โน้น

และสหาย (มุฮัมมัด) ของพวกเจ้านั้นมิใช่เป็นคนวิกลจริตแต่ประการใด

และโดยแน่นอนเขา (มุฮัมมัด) ได้เห็นเขา (ญิบริล) ณ ขอบฟ้าอย่างชัดแจ้ง

และเขา (มุฮัมมัด) มิใช่เป็นผู้ตระหนี่ในเรื่องเร้นลับ

และอัลกุรอานนี้มิใช่คำกล่าวของชัยฏอนที่ถูกสาปแช่ง

แล้วพวกเจ้าจะไปทางไหนเล่า

อัลกุรอานนั้นมิใช่อื่นใด นอกจากเป็นข้อตักเตือนแก่ประชาชาติทั้งมวล

สำหรับบุคคลในหมู่พวกเจ้าที่ประสงค์อยู่ในทางอันเที่ยงตรง

และพวกเจ้าจะไม่สมประสงค์สิ่งใดเว้นแต่อัลลอฮฺพระเจ้าแห่งสากลโลกจะทรงประสงค์
سورة التكوير
معلومات السورة
الكتب
الفتاوى
الأقوال
التفسيرات

سورة (التَّكْوير) من السُّوَر المكية، نزلت بعد سورة (المَسَد)، وهي من السُّوَر التي شيَّبتْ رسولَ الله صلى الله عليه وسلم؛ كما صح في الأثر؛ وذلك لِما أخبَرتْ عنه من الأهوال التي تسبق يومَ القيامة؛ تخويفًا للكفار من عذاب الله الواقع بهم إن بَقُوا على كفرهم، وقد خُتِمت بحقيقةِ الوحي، وإثباتِ مجيئه من عند الله عز وجل.

ترتيبها المصحفي
81
نوعها
مكية
ألفاظها
104
ترتيب نزولها
7
العد المدني الأول
29
العد المدني الأخير
29
العد البصري
29
العد الكوفي
29
العد الشامي
29

* سورة (التَّكْوير):

سُمِّيت سورة (التَّكْوير) بهذا الاسم؛ لافتتاحها بقوله تعالى: {إِذَا اْلشَّمْسُ كُوِّرَتْ} [التكوير: 1].

سورة (التَّكْوير) من السُّوَر التي شيَّبتْ رسول الله صلى الله عليه وسلم:

عن ابنِ عباسٍ رضي الله عنهما، قال: «قال أبو بكرٍ الصِّدِّيقُ رضي الله عنه لرسولِ اللهِ: يا رسولَ اللهِ، أراكَ قد شِبْتَ! قال: «شيَّبتْني هُودٌ، والواقعةُ، والمُرسَلاتُ، و{عَمَّ يَتَسَآءَلُونَ}، و{إِذَا اْلشَّمْسُ كُوِّرَتْ}». أخرجه الحاكم (3314).

* سورة (التَّكْوير) من السُّوَر التي وصفت أحداثَ يوم القيامة بدقة؛ لذا كان النبي صلى الله عليه وسلم يدعو الصحابةَ إلى قراءتها:

عن عبدِ اللهِ بن عُمَرَ رضي الله عنهما، قال: قال رسول الله صلى الله عليه وسلم: «مَن سَرَّه أن ينظُرَ إلى يومِ القيامةِ كأنَّه رأيَ عينٍ، فَلْيَقرأْ: {إِذَا اْلشَّمْسُ كُوِّرَتْ}، و{إِذَا اْلسَّمَآءُ اْنفَطَرَتْ}، و{إِذَا اْلسَّمَآءُ اْنشَقَّتْ}». أخرجه الترمذي (٣٣٣٣).

1. حقيقة القيامة (١-١٤).

2. حقيقة الوحي (١٥-٢٩).

ينظر: "التفسير الموضوعي لسور القرآن الكريم" لمجموعة من العلماء (9 /49).

يقول ابنُ عاشور رحمه الله: «اشتملت على تحقيقِ الجزاء صريحًا، وعلى إثبات البعث، وابتُدئ بوصفِ الأهوال التي تتقدمه، وانتُقل إلى وصف أهوال تقع عَقِبَه.

وعلى التنويه بشأن القرآن الذي كذَّبوا به؛ لأنه أوعَدهم بالبعث؛ زيادةً لتحقيقِ وقوع البعث إذ رمَوُا النبيَّ صلى الله عليه وسلم بالجنون، والقرآنَ بأنه يأتيه به شيطانٌ». "التحرر والتنوير" لابن عاشور (30 /140).