ترجمة سورة النبأ

الترجمة التايلاندية

ترجمة معاني سورة النبأ باللغة التايلاندية من كتاب الترجمة التايلاندية.
من تأليف: مجموعة من جمعية خريجي الجامعات والمعاهد بتايلاند .

[78.1] พวกเขาต่างถามกันถึงเรื่องอะไร
[78.2] (ถาม) ถึงข่าวอันยิ่งใหญ่สำคัญ
[78.3] ซึ่งเป็นข่าวที่พวกเขาขัดแย้งกันอยู่
[78.4] เปล่าเลย พวกเขาจะได้รู้
[78.5] แล้วก็เปล่าเลย พวกเขาจะได้รู้
[78.6] เรามิได้ทำให้แผ่นดินเป็นพื้นราบดอกหรือ
[78.7] และมิได้ให้เทือกเขาเป็นหลักตรึงไว้ดอกหรือ
[78.8] และเราได้บังเกิดพวกเจ้าให้เป็นคู่ครองกัน
[78.9] และเราได้ทำให้การนอนของพวกเจ้าเป็นการพักผ่อน
[78.10] และเราได้ทำให้กลางคืนคล้ายเครื่องปกปิดร่างกาย
[78.11] และเราได้ทำให้กลางวันเป็นที่แสวงหาเครื่องยังชีพ
[78.12] และเราได้สร้างไว้เหนือพวกเจ้าสิ่งที่แข็งแรงทั้งเจ็ด (ชั้นฟ้า)
[78.13] และเราได้ทำให้มีดวงประทีปหนึ่งมีแสงสว่างจ้า
[78.14] และเราได้หลั่งน้ำลงมาอย่างมากมายจากเมฆฝน
[78.15] เพื่อว่าเราจะให้งอกเงยด้วยน้ำนั้นซึ่งเมล็ดพืชและพืชผัก
[78.16] และบรรดาเรือกสวนอันหนาแน่น
[78.17] แท้จริงวันแห่งการตัดสินนั้นเป็นเวลาที่ถูกกำหนดไว้
[78.18] วันที่แตรจะถูกเป่า แล้วพวกเจ้าก็จะมากันเป็นหมู่ ๆ
[78.19] และชั้นฟ้าจะถูกเปิดออก แล้วก็จะมีประตูหลายบาน
[78.20] และเทือกเขาจะถูกให้เคลื่อนออกไป แล้วก็กลายเป็นภาพลวง
[78.21] แท้จริงนรกญะฮันนัมนั้นเป็นที่สอดส่อง
[78.22] เป็นที่กลับไปสำหรับบรรดาผู้ละเมิด
[78.23] พวกเขาจะพำนักอยู่ในนั้นเป็นเวลานาน
[78.24] พวกเขาจะไม่ได้ลิ้มรสความเย็นและเครื่องดื่มใด ๆ ในนรกนั้น
[78.25] นอกจากน้ำเดือดและน้ำเลือดน้ำหนองเท่านั้น
[78.26] ทั้งนี้เป็นการตอบแทนอย่างคู่ควร
[78.27] เพราะพวกเขามิได้หวังว่าจะมีการชำระสอบสวน
[78.28] และพวกเขาปฏิเสธสัญญาณต่าง ๆ ของเราอย่างสิ้นเชิง
[78.29] และทุก ๆ สิ่งนั้นเราได้จารึกมันไว้อย่างครบถ้วนในบันทึก
[78.30] ดังนั้น พวกเจ้าจงลิ้มรส (การลงโทษ) เถิด เราจะไม่เพิ่มอันใดแก่พวกเจ้านอกจากการทรมานเท่านั้น
[78.31] แท้จริงสำหรับบรรดาผู้ยำเกรงนั้นจะได้รับชัยชนะ
[78.32] เรือกสวนหลากหลายและองุ่น
[78.33] และบรรดาสาววัยรุ่นที่มีอายุคราวเดียวกัน
[78.34] และแก้วที่มีเครื่องดื่มเต็มเปี่ยม
[78.35] ในสวนสวรรค์นั้นพวกเขาจะไม่ได้ยินคำพูดไร้สาระและคำกล่าวเท็จ
[78.36] ทั้งนี้เป็นการตอบแทนจากพระเจ้าของเจ้า เป็นการประทานให้อย่างพอเพียง
[78.37] พระเจ้าแห่งชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดิน และสิ่งที่อยู่ในระหว่างทั้งสอง คือพระผู้ทรงกรุณาปรานี พวกเขาไม่มีอำนาจที่จะกล่าวคำพูดใด ๆ ต่อพระองค์
[78.38] วันซึ่งญิบรีลและมลาอิกะฮฺจะยืนเป็นแถวเดียวกัน พวกเขาจะไม่พูด นอกจากผู้ที่พระผู้ทรงกรุณาปรานีทรงอนุญาตให้แก่เขา และเขาจะพูดแต่สิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น
[78.39] นั่นคือวันแห่งความจริง ดังนั้น ผู้ใดประสงค์ก็ให้เขายึดทางกลับไปสู่พระเจ้าของเขาเถิด
[78.40] แท้จริงเราได้เตือนพวกเจ้าแล้วถึงการลงโทษอันใกล้ วันที่มนุษย์จะมองไปยังสิ่งที่สองมือของเขาได้ประกอบไว้ และผู้ปฏิเสธศรัทธาจะกล่าวว่า โอ้ ถ้าฉันเป็นฝุ่นดินเสียก็จะดี
سورة النبأ
معلومات السورة
الكتب
الفتاوى
الأقوال
التفسيرات

سورة (النَّبأ) من السُّوَر المكية، وقد جاءت بإثباتِ وقوع يوم القيامة، ودلَّلتْ على صدقِ ذلك بالآيات الكونية التي تملأ هذا الكونَ؛ فالله الذي خلَق هذا الكون بآياته العظام وسيَّره بأبدَعِ نظام قادرٌ على بعثِ الناس، ومجازاتهم على أعمالهم؛ فللعاصين النارُ جزاءً وِفاقًا، وللمتقين الجنةُ جزاءً من ربك عطاءً حسابًا، وسورة (النبأ) من السُّوَر التي شيَّبتْ رسولَ الله صلى الله عليه وسلم؛ لما ذكَرتْ من مشاهدِ يوم القيامة.

ترتيبها المصحفي
78
نوعها
مكية
ألفاظها
174
ترتيب نزولها
80
العد المدني الأول
40
العد المدني الأخير
40
العد البصري
41
العد الكوفي
40
العد الشامي
40

* سورة (النَّبأ):

سُمِّيت سورة (النَّبأ) بهذا الاسم؛ لوقوع لفظ (النَّبأ) في فاتحتها؛ وهو: خبَرُ الساعة والبعث الذي يسأل الناسُ عن وقوعه.

* وتُسمَّى كذلك بسورة (عمَّ)، أو (عمَّ يتساءلون)، أو (التساؤل)؛ لافتتاحِها بها.

سورة (النَّبأ) من السُّوَر التي شيَّبتْ رسولَ الله صلى الله عليه وسلم:

عن ابنِ عباسٍ رضي الله عنهما، قال: «قال أبو بكرٍ الصِّدِّيقُ رضي الله عنه لرسولِ اللهِ: يا رسولَ اللهِ، أراكَ قد شِبْتَ! قال: «شيَّبتْني هُودٌ، والواقعةُ، والمُرسَلاتُ، و{عَمَّ يَتَسَآءَلُونَ}، و{إِذَا اْلشَّمْسُ كُوِّرَتْ}». أخرجه الحاكم (3314).

1. تساؤل المشركين عن النبأ (١-٥).

2. الآيات الكونية (٦-١٦).

3. أحداث يوم القيامة (١٧-٣٠).

4. جزاء المتقين (٣١-٤٠).

ينظر: "التفسير الموضوعي لسور القرآن الكريم" لمجموعة من العلماء (9 /4).

يقول البقاعي: «مقصودها: الدلالةُ على أن يوم القيامة الذي كانوا مُجمِعين على نفيه، وصاروا بعد بعثِ النبي صلى الله عليه وسلم في خلافٍ فيه مع المؤمنين: ثابتٌ ثباتًا لا يحتمل شكًّا ولا خلافًا بوجه؛ لأن خالقَ الخَلْقِ - مع أنه حكيمٌ قادر على ما يريد - دبَّرهم أحسنَ تدبير، وبنى لهم مسكنًا وأتقَنه، وجعلهم على وجهٍ يَبقَى به نوعُهم من أنفسهم، بحيث لا يحتاجون إلى أمرٍ خارج يرونه، فكان ذلك أشَدَّ لأُلفتهم، وأعظَم لأُنْسِ بعضهم ببعض، وجعَل سَقْفَهم وفراشهم كافلَينِ لمنافعهم، والحكيم لا يترك عبيدَه - وهو تامُّ القدرة، كامل السلطان - يَمرَحون، يَبغِي بعضهم على بعض، ويأكلون خيرَه ويعبدون غيرَه، فكيف إذا كان حاكمًا؟! فكيف إذا كان أحكَمَ الحاكمين؟!
هذا ما لا يجوز في عقلٍ، ولا يخطر ببالٍ أصلًا؛ فالعلم واقع به قطعًا.
وكلٌّ من أسمائها واضحٌ في ذلك؛ بتأمُّل آيته، ومبدأ ذكرِه وغايته». "مصاعد النظر للإشراف على مقاصد السور" للبقاعي (3 /151).